03/12/2010Published by Chotchayanon at 03/12/2010Categories บทความวิชาการสารต้านอนุมูลอิสระ (ANTIOXIDANT)เอนไซม์และสารเคมีต่างๆ ที่ร่างกายสัตว์สร้างขึ้นนั้นมีปริมาณจำกัด ดังนั้นจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องอาศัยสารต้านอนุมูลอิสระจากแหล่งภายนอกร่างกาย เช่น อาหาร เพื่อรักษาสมดุลต่างๆ ในร่างกายให้ดำเนินต่อไปได้อย่างปกติ
03/12/2010Published by Chotchayanon at 03/12/2010Categories บทความวิชาการสารลดแรงตึงผิวในผลิตภัณฑ์ทำความสะอาดและฆ่าเชื้อสารลดแรงตึงผิว (Surfactant) สารลดแรงตึงผิว คือสารที่มีคุณสมบัติในการรวมโมเลกุลให้มีน้ำหนักมากขึ้น เพื่อลดแรงเกาะหรือแรงตึงผิว (surface tension) ระหว่างกันของสสารนั้นๆ
15/11/2010Published by Chotchayanon at 15/11/2010Categories บทความวิชาการการลดปริมาณอะฟลาทอกซินในวัตถุดิบอาหารสัตว์การลดปริมาณอะฟลาทอกซินในวัตถุดิบอาหารสัตว์ด้วยการเอ็กซ์ทรูด สารพิษอะฟลาทอกซิน (Aflatoxin) เป็นกลุ่มของสารอินทรีย์เคมีพวกบิส-ฟูราโนคิวมาริน (bis-furanocumarin)
26/03/2010Published by Chotchayanon at 26/03/2010Categories บทความวิชาการGMP-PIC/S; หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตยาGMP (Good Manufacturing Practice) หรือ หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิต ถือเป็นส่วนหนึ่งของการประกันคุณภาพเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าผลิตภัณฑ์ได้ผ่านกรรมวิธีการผลิต
30/01/2010Published by Chotchayanon at 30/01/2010Categories บทความวิชาการซีสเทียมีน ไฮโดรคลอไรด์ & การเจริญเติบโตของสัตว์ (Cysteamine HCL & Growth Performance)ผลของซีสเทียมีน ไฮโดรคลอไรด์ต่อประสิทธิภาพการเจริญเติบโตสัตว์ จุดมุ่งหวังสูงสุดของเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ในเชิงธุรกิจ
20/04/2009Published by Chotchayanon at 20/04/2009Categories บทความวิชาการพรีไบโอติก (Prebiotics)Prebiotics หมายถึง ส่วนของอาหารที่สัตว์ย่อยนำไปใช้ประโยชน์ไม่ได้ แต่จุลินทรีย์ประจำถิ่นในลำไส้ใหญ่ (เชื้อดี) สามารถใช้ประโยชน์ได้
20/04/2009Published by Chotchayanon at 20/04/2009Categories บทความวิชาการเทคโนโลยีชีวภาพในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์ (BIO-TECHNOLOGY IN FEED INDUSTRY)อุตสาหกรรมการเลี้ยวสัตว์ในปัจจุบันนี้ได้มีการนำสัตว์ที่มี
18/03/2009Published by Chotchayanon at 18/03/2009Categories บทความวิชาการโปรไบโอติก (Probiotics)Probiotic ถูกนำมาใช้เป็นครั้งแรกในรายงานการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ของ Lilly และ Stillwell ในปี ค.ศ. 1965 เพื่อกล่าวถึงสารที่จุลินทรีย์ชนิดหนึ่งขับออกมา และช่วยกระตุ้น
28/01/2009Published by Chotchayanon at 28/01/2009Categories บทความวิชาการโรคไข้หวัดสุกร (H1N1)โรคไข้หวัดสุกร ทำให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจชนิดเฉียบพลันในสุกรทุกช่วงอายุ มีผลกระทบทางด้านเศรษฐกิจต่ออุตสาหกรรมการเลี้ยงสุกร โดยสาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส